Third-Year Residents from Lithuania and Lao PDR Complete Elective Exchange Program at Khon Kaen University

 

The Faculty of Medicine, Khon Kaen University, is committed to promoting continuous medical education by welcoming residents from the Republic of Lithuania and the Lao People’s Democratic Republic (Lao PDR) to participate in the Elective Exchange Program from February 3 to 28, 2025. This program provides an excellent opportunity to foster international medical collaboration.

 

 

For the Department of Surgery, the Faculty of Medicine welcomed Dr. Gabriele Pleiryte, a third-year neurology resident from Vilnius University, to participate in a clinical observation at the Neurosurgery Unit from February 4 to 27, 2025. During this period, Dr. Gabriele Pleiryte had the opportunity to observe and learn about medical practices in neurosurgery, including:

  1. Studying techniques and methods of neurosurgical procedures in various specialties, such as brain and spinal cord surgeries.
  2. Learning about postoperative care for neurosurgical patients.
  3. Participating in academic conferences and medical training sessions related to neurosurgery.
  4. Collaborating with the medical team in the Department of Neurosurgery to enhance knowledge and experience in patient care.

 

 

For the Department of Emergency Medicine, the Faculty of Medicine welcomed
Dr. Teenaphark Phanthavong, a third-year resident from the University of Health Sciences, Lao PDR, to participate in a clinical observation at the Emergency Medicine Unit from February 3 to 28, 2025. During this clinical observation, Dr. Teenaphark Phanthavong had the opportunity to learn about emergency medicine (EM) and emergency medical services (EMS) systems, focusing on key areas, including:

  1. Emergency patient care: Learning the processes of assessing and managing emergency patients from initial reception to primary treatment, including the use of life-saving equipment such as CPR and AED.
  2. Critical patient management: Studying methods for managing critically ill patients in various conditions, such as trauma, shock, and medical emergencies requiring urgent care.
  3. EMS training: Learning about teamwork between medical professionals, nurses, and EMS staff in the care of emergency patients from the scene to the hospital.
  4. Observing in the emergency medicine department: Attending internal department meetings, improving and refining processes in emergency medicine, and exchanging experiences and opinions on patient care through both theoretical and practical learning.

The welcoming of international residents in this exchange program strengthens international medical collaboration and provides a valuable opportunity for the exchange of knowledge and experiences between the Faculty of Medicine, Khon Kaen University, and medical institutions in the Republic of Lithuania and the Lao PDR. Furthermore, the clinical observation and training in various specialties enhance the skills and expertise of the residents from both countries in patient care and effective medical service delivery.

 

 

 

Written by Mr. Patiwat Srisaad, Cooperative Education Student, Khon Kaen University

 


 

แพทย์ประจำบ้านชั้นปีที่ 3 จากสาธารณรัฐลิทัวเนีย และสปป. ลาว สำเร็จการศึกษาโครงการแลกเปลี่ยน (Elective) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มุ่งส่งเสริมการเรียนรู้ทางการแพทย์อย่างต่อเนื่อง ด้วยการต้อนรับแพทย์ประจำบ้านจากสาธารณรัฐลิทัวเนีย และสปป. ลาว เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน (Elective)
ระหว่างวันที่ 3 – 28 กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งเป็นโอกาสที่ดีในการสร้างความร่วมมือทางการแพทย์ระหว่างประเทศ

สาขาวิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ได้ให้การต้อนรับ Dr. Gabriele Pleiryte
แพทย์ประจำบ้านชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาประสาทวิทยา (Neurology) จาก Vilnius University เพื่อศึกษาดูงาน
ณ หน่วยประสาทศัลยศาสตร์ ระหว่างวันที่  4 – 27 กุมภาพันธ์ 2568

การศึกษาดูงานในครั้งนี้ Dr. Gabriele Pleiryte ได้มีโอกาสศึกษาผลงานและการดำเนินงาน
ทางการแพทย์ในด้านศัลยศาสตร์ประสาท ดังนี้

  1. การศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการในการผ่าตัดประสาทวิทยาในสาขาต่าง ๆ เช่น การผ่าตัดสมอง
    และไขสันหลัง
  2. การเรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยหลังการผ่าตัดประสาท
  3. การเข้าร่วมในการประชุมวิชาการและการฝึกอบรมทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับสาขาศัลยศาสตร์ประสาท
  4. การปฏิบัติงานร่วมกับทีมแพทย์และเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ในภาควิชาศัลยศาสตร์ประสาท เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์จากการดูแลผู้ป่วยจริง

สาขาวิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ ได้ให้การต้อนรับ Dr. Theenaphark Phanthavong แพทย์ประจำบ้านชั้นปีที่ 3 จากมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ สปป. ลาว เพื่อศึกษาดูงาน
ณ สาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ระหว่างวันที่ 3 – 28 กุมภาพันธ์ 2568

ในระหว่างการศึกษาดูงานครั้งนี้ Dr. Theenaphark Phanthavong ได้มีโอกาสเรียนรู้เกี่ยวกับ
การปฏิบัติงานในสาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน (Emergency Medicine: EM) และระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical Services: EMS) โดยมีการศึกษาประเด็นต่าง ๆ ที่สำคัญดังนี้:

  1. การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน: เรียนรู้กระบวนการประเมินและจัดการผู้ป่วยฉุกเฉินตั้งแต่การรับผู้ป่วยจนถึง
    การรักษาเบื้องต้น การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ในการช่วยชีวิต เช่น การทำ CPR
    และการใช้เครื่อง AED
  2. การจัดการผู้ป่วยในภาวะวิกฤต: ศึกษาวิธีการจัดการกับผู้ป่วยที่มีอาการวิกฤตในสภาวะต่าง ๆ
    เช่น การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ภาวะช็อก และภาวะทางการแพทย์ที่ต้องการการดูแลเร่งด่วน
  3. การฝึกอบรมในระบบ EMS: การเรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานร่วมกันระหว่างทีมแพทย์ พยาบาล
    และเจ้าหน้าที่ EMS ในการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินจากจุดเกิดเหตุจนถึงโรงพยาบาล
  4. การศึกษาดูงานในแผนกเวชศาสตร์ฉุกเฉิน: เข้าร่วมการประชุมภายในแผนก การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการทำงานในเวชศาสตร์ฉุกเฉิน รวมถึงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นในการดูแลผู้ป่วยจากการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ

การต้อนรับแพทย์ประจำบ้านจากต่างประเทศในครั้งนี้ ถือเป็นการเสริมสร้างความร่วมมือทางการแพทย์ในระดับนานาชาติ และเป็นโอกาสที่ดีในการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสถาบันการศึกษาทางการแพทย์จากสาธารณรัฐลิทัวเนีย และสปป. ลาว ทั้งนี้การศึกษาดูงานและการฝึกอบรมในสาขาต่าง ๆ ยังเป็นการพัฒนาทักษะและความเชี่ยวชาญของแพทย์ประจำบ้าน
จากทั้งสองประเทศที่มาร่วมโครงการในด้านการดูแลผู้ป่วย และการให้บริการทางการแพทย์อย่างมีประสิทธิภาพ

 

เขียนโดย: นายปฏิวัติ ศรีสอาด นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา

 

Japanese Nursing Students from Chiba University Visit Srinagarind Hospital for International Learning Exchange

 

The Faculty of Medicine, Khon Kaen University, recently welcomed nursing students from Chiba University, Japan, for a two-day academic visit to Srinagarind Hospital from February 19 to 20, 2025. This immersive experience allowed the students to gain practical insights into Thailand’s healthcare system under the guidance of seasoned medical professionals.

During their visit, Ms. Matsuri Sakimoto, Ms. Sayo Itsuka, and Ms. Towa Kobayashi explored key healthcare units to broaden their understanding of nursing practices in Thailand. On their first day, they observed operations at the Primary Care Unit at Sam Liam, where they learned about community-based healthcare services, Thailand’s preventive healthcare model, and patient-centered care approaches. This exposure provided them with a deeper appreciation of Thailand’s public health strategies and grassroots medical outreach initiatives.

The second day of the program focused on maternal and neonatal care at the Maternity and Delivery Unit. The students had the opportunity to witness advanced medical technologies used in labor and delivery and gained firsthand experience in prenatal and postnatal care strategies adopted in Thai hospitals. This experience highlighted the comprehensive approach to maternal health practiced in Thailand, blending modern medical advancements with compassionate patient care.

This exchange program is part of the ongoing collaboration between Chiba University and Khon Kaen University, fostering knowledge-sharing, cross-cultural learning, and professional development among nursing students. By actively engaging in practical experiences, the students not only enhanced their medical expertise but also contributed to strengthening Japan-Thailand relations in healthcare education.

As the landscape of global healthcare continues to evolve, such international partnerships remain instrumental in shaping future medical leaders and reinforcing a shared commitment to elevating patient care on a global scale.

 

 


 

นักศึกษาพยาบาล Chiba University ศึกษาดูงานด้านการพยาบาล ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้การต้อนรับนักศึกษาพยาบาลจาก Chiba University ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเดินทางมาเพื่อศึกษาและเรียนรู้แนวปฏิบัติด้านการพยาบาลที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ระหว่างวันที่ 19 – 20 กุมภาพันธ์ 2568 โดยตลอดการศึกษาดูงาน นักศึกษาได้สัมผัสประสบการณ์ตรงจากผู้เชี่ยวชาญในหน่วยงานสำคัญของโรงพยาบาล

นักศึกษาพยาบาลทั้งสาม ได้แก่ Ms. Matsuri Sakimoto, Ms. Sayo Itsuka และ Ms. Towa Kobayashi ได้เข้าศึกษางานที่หน่วยบริการปฐมภูมิสามเหลี่ยม ซึ่งเป็นศูนย์บริการสุขภาพที่มุ่งเน้นการดูแลประชาชนในระดับปฐมภูมิ ภายใต้การดูแลของอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ นักศึกษาได้เรียนรู้แนวทางการให้บริการสาธารณสุขที่ครอบคลุมและเข้าถึงชุมชน ตลอดจนแนวคิดการพยาบาลที่สามารถนำไปปรับใช้ในบริบทของตนเอง พร้อมแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับระบบสาธารณสุขไทยกับบุคลากรในพื้นที่

การศึกษาดูงานยังขยายไปถึงหน่วยห้องคลอด ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการดูแลสตรีมีครรภ์และทารกแรกเกิด นักศึกษาพยาบาลจากญี่ปุ่นได้เรียนรู้กระบวนการดูแลมารดาตั้งแต่ก่อนคลอดจนถึงหลังคลอด รวมถึงการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัยในการช่วยเหลือผู้ป่วย ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่เสริมสร้างความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยของไทย

การศึกษาดูงานครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือระหว่าง Chiba University และมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่มุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการพยาบาลและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ในระดับนานาชาติ ถือเป็นก้าวสำคัญในการสร้างเครือข่ายทางวิชาการ และเสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนางานด้านการพยาบาลร่วมกันในอนาคต

 

International Students Engage in Cultural and Knowledge Exchange Among Thai, Japanese, and Korean Students

 

On February 14, 2025, the International Relations Office of the Faculty of Medicine organized the Cultural Exchange Program, providing an opportunity for exchange students to present and share their cultures between Thailand, Japan, and Korea. The event featured demonstrations and interactive activities where students from each country participated together.

 

 

 

Thai students presented the art of folding pandanus flowers, a handicraft that reflects the beauty and intricacy of Thai culture. The activity was led by internship students from the Faculty of Humanities and Social Sciences at Khon Kaen University, including Ms. Kotchakorn Onjangreed, Mr. Patiwat Srisaard, Ms. Korakod Onjangreed, Ms. Sumitta Buaphaeng, and Ms. Rachanikon Thatuwisai.

 

 

Japanese students introduced the sport of Sumo, Japan’s ancient warrior sport, sharing its history, rituals, and cultural significance. This session was presented by Mr. Kotaro Okada, Mr. Ryotaro Ishizawa, Mr. Ryusei Inaba, Mr. Taise Kumai, and Mr. Takahiro Asai, medical students from Nagoya City University, Japan.

The final activity showcased Ddakji, a traditional Korean paper game, presented by Mr. Dongjin Shin, a Korean student currently studying at the Singapore Institute of Management in Singapore.

The Cultural Exchange Program was a significant event that promoted mutual understanding among cultures and fostered friendships between Thai students and international peers. Participants gained valuable experiences and learned about the beauty of diverse cultures. The International Relations Office of the Faculty of Medicine, Khon Kaen University remains dedicated to promoting internationalism and cultural exchange, ensuring the continued growth of such meaningful events in the future.

 

Written by Miss Kotchakorn Onjangreed, Cooperative Education Intern

 


 

นักศึกษานานาชาติร่วมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และวัฒนธรรมไทย-ญี่ปุ่น-เกาหลี

เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2568 งานวิเทศสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ได้จัดโครงการ Cultural Exchange Program เพื่อเป็นโอกาสสำหรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนในการนำเสนอและเผยแพร่วัฒนธรรมระหว่างไทย เกาหลี และญี่ปุ่น กิจกรรมภายในงานประกอบด้วยการแสดงสาธิตและการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมร่วมกันของนักศึกษาจากแต่ละประเทศ

นักศึกษาไทยได้นำเสนอการพับดอกไม้จากใบเตย ซึ่งเป็นงานหัตถศิลป์ที่สะท้อนความงดงามและความประณีตของวัฒนธรรมไทย โดยมีนักศึกษาฝึกงานสหกิจศึกษาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นผู้ดำเนินกิจกรรม ได้แก่ นางสาวกชกร อ่อนจังหรีด นายปฏิวัติ ศรีสะอาด นางสาวกรกฎ อ่อนจังหรีด นางสาวสุมิตตา บัวแพง และนางสาวรัชนีกร ธาตุวิสัย

นักศึกษาญี่ปุ่นได้นำเสนอเกี่ยวกับกิจกรรมซูโม่: กีฬานักรบโบราณของญี่ปุ่น ซึ่งมีการเล่าถึงประวัติศาสตร์ พิธีกรรม และความสำคัญของซูโม่ในวัฒนธรรมญี่ปุ่น กิจกรรมนี้ดำเนินโดย Mr. Kotaro Okada, Mr. Ryotaro Ishizawa, Mr. Ryusei Inaba, Mr. Taise Kumai และ Mr. Takahiro Asai นักศึกษาแพทย์จาก Nagoya City University ประเทศญี่ปุ่น

กิจกรรมสุดท้ายเป็นการนำเสนอการละเล่น ตั๊กจี (Ddakji) เกมกระดาษแบบดั้งเดิมของเกาหลี เผยแพร่และนำเสนอโดย Mr. Dongjin Shin นักศึกษาชาวเกาหลีซึ่งกำลังศึกษาที่ Singapore Institute of Management ประเทศสิงคโปร์

โครงการ Cultural Exchange Program เป็นโอกาสสำคัญที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรม พร้อมทั้งสร้างมิตรภาพระหว่างนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ ผู้เข้าร่วมงานได้รับประสบการณ์ที่มีคุณค่าและได้เรียนรู้ความงดงามของวัฒนธรรมที่หลากหลาย งานวิเทศสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นยังคงมุ่งมั่นในการส่งเสริมความเป็นสากลและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เพื่อให้กิจกรรมที่มีคุณค่าเช่นนี้เติบโตต่อไปในอนาคต

 

เขียนโดยนางสาวกชกร อ่อนจังหรีด นักศึกษาฝึกสหกิจ

 


 

国际学生与泰国、日本和韩国同学交流知识与文化

2025年2月14日,International Relations Office举办了文化交流项目,为交换生提供了展示和分享泰国、韩国和日本文化遗产的机会。本次活动包括现场演示和互动环节,由各国学生主导。

泰国代表团展示了泰国传统折叠香兰叶花艺,这种传统手工艺体现了泰国对自然美学的独特理解。本次活动由孔敬大学人文与社会科学学院的合作教育实习生主持,包括 Ms. Kotchakorn Onjangreed, Mr. Patiwat Srisaard, Ms. Korakod Onjangreed, Ms. Sumitta Buaphaeng, and Ms. Rachanikon Thatuwisai。

日本学生带来了关于相扑:日本古代武士运动的展示,详细介绍了相扑的历史、仪式及其在日本文化中的重要性。本次讲解由来自日本名古屋市立大学的医学生主持,分别是 Mr. Kotaro Okada, Mr. Ryotaro Ishizawa, Mr. Ryusei Inaba, Mr. Taise Kumai 和 Mr. Takahiro Asai 主讲。

最后的活动是Ddakji,一种韩国传统纸牌游戏,由目前就读于新加坡管理学院的韩国学生 Mr. Dongjin Shin 介绍。

 

文化交流项目(Cultural Exchange Program)不仅是一个展示各国文化的平台,同时也是促进跨文化理解与友谊的重要桥梁。参与者在学术环境中获得了一次丰富的文化体验。International Relations Office将继续推动此类互动交流活动,以促进更广泛的国际合作和文化互鉴。

 

作者 :Kotchakorn Onjangreed实习生

 

International Students from Singapore and Japan Complete Exchange Program at MDKKU

 

The Faculty of Medicine, Khon Kaen University (KKU), continues to foster international academic collaboration through its Elective Exchange Program, providing global learning experiences for medical students. From February 4–13, 2025, the Faculty welcomed exchange students from Singapore and Japan to engage in specialized clinical training in Otorhinolaryngology (ENT) and Orthopedics.

 

 

 

Department of Otorhinolaryngology (ENT)

Mr. Dongjin Shin from the Singapore Institute of Management (SIM GE) participated in the ENT program, focusing on the role of Health Informatics & Computing in diagnosing and treating ENT-related conditions. He also gained firsthand experience in specialized clinics, including:

  • Head and Neck Clinic – Management of tumors and head and neck cancers.
  • Otology Clinic – Diagnosis and treatment of hearing loss, middle ear infections, and cochlear implantation.
  • Rhinology Clinic – Treatment of nasal and sinus diseases, including chronic sinusitis and airway obstruction.
  • Laryngology Clinic – Disorders affecting the larynx and vocal cords.
  • Sleep Clinic – Diagnosis and management of Obstructive Sleep Apnea (OSA).
  • Voice Clinic – Addressing voice disorders, including vocal strain and neurological impairments.

Department of Orthopedics

Five medical students from Nagoya City University, Japan—Mr. Kotaro Okada, Mr. Ryotaro Ishizawa, Mr. Ryusei Inaba, Mr. Taise Kumai, and Mr. Takahiro Asai—underwent clinical training in orthopedic surgery. Their program covered:

  • Interpretation of radiological imaging (X-ray, CT, MRI).
  • Patient management in outpatient and inpatient settings.
  • Observation and participation in orthopedic procedures, including arthroscopic surgery, fracture fixation, and joint replacement.
  • Sports medicine and rehabilitation for sports-related injuries.

 

The students actively participated in clinical and surgical observations, gaining insights into advanced medical technologies and modern treatment approaches in orthopedic care.

Enhancing Global Medical Collaboration

This exchange program not only provided international students with exposure to advanced medical practices but also facilitated cultural and academic exchanges. By engaging in hands-on training and clinical discussions, participants broadened their perspectives on global healthcare systems. Such initiatives play a crucial role in strengthening international medical education, fostering professional growth, and building a global network of future healthcare leaders.

 

 

Written by Mr. Patiwat Srisaad, Cooperative Education Student, Khon Kaen University

 


 

นักศึกษาโครงการแลกเปลี่ยนจากสิงคโปร์และญี่ปุ่น สำเร็จการศึกษาดูงานจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้ความสำคัญกับความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ
และมุ่งส่งเสริมการเรียนรู้ทางการแพทย์ผ่านโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา (Elective Exchange Program)  ส่งเสริมความร่วมมือ ด้วยการต้อนรับนักศึกษาแพทย์จากประเทศสิงคโปร์ และญี่ปุ่น เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา (Elective Exchange Program) ระหว่างวันที่ 4 – 13 กุมภาพันธ์ 2568

สำหรับภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา มีนักศึกษาแพทย์ที่เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ Mr. Dongjin Shin จาก Singapore Institute of Management (SIM GE) ประเทศสิงคโปร์ โดยมีโอกาสศึกษาการประยุกต์ใช้ Health Informatics & Computing ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเกี่ยวกับหู คอ จมูก รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนงานทางการแพทย์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวินิจฉัยและรักษา รวมถึงได้มีโอกาสเยี่ยมชมคลินิกเฉพาะทางในสาขาต่าง ๆ ของภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา ได้แก่

  • Head and Neck Clinic ศึกษาการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีเนื้องอก และมะเร็งบริเวณศีรษะและลำคอ
  • Otology Clinic เรียนรู้เกี่ยวกับโรคของหู เช่น ภาวะสูญเสียการได้ยิน การติดเชื้อในหูชั้นกลาง
    และการฝังประสาทหูเทียม
  • Rhinology Clinic ศึกษาการรักษาโรคทางจมูกและไซนัส เช่น ไซนัสอักเสบเรื้อรัง และภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น
  • Laryngology Clinic เรียนรู้เกี่ยวกับโรคของกล่องเสียงและสายเสียง
  • Sleep Clinic ศึกษาการวินิจฉัยและรักษาภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (Obstructive Sleep Apnea – OSA)
  • Voice Clinic เรียนรู้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านเสียงและการพูด เช่น ภาวะเสียงผิดปกติ
    จากการใช้เสียงผิดวิธี หรือผลกระทบจากโรคทางระบบประสาท

ด้านภาควิชาออร์โธปิดิกส์ มีนักศึกษาแพทย์ที่เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ Mr. Kotaro Okada,
Mr. Ryotaro Ishizawa, Mr. Ryusei Inaba, Mr. Taise Kumai และ Mr. Takahiro Asai จาก Nagoya City University ประเทศญี่ปุ่น โดยมีโอกาสศึกษาและฝึกปฏิบัติทางคลินิกเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยด้านออร์โธปิดิกส์ ซึ่งตลอดระยะเวลาโครงการ นักศึกษาแพทย์ได้รับความรู้และทักษะในด้านต่าง ๆ ดังนี้

  • การอ่านภาพทางรังสี (Xray, CT, MRI)
  • การรักษาผู้ป่วยในคลินิกและหอผู้ป่วยใน
  • การฝึกหัตการและสังเกตการณ์ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ เช่น Arthroscopic Surgery, Fracture Fixation, Joint Replacement
  • เวชศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟู สำหรับอาการบาดเจ็บในนักกีฬา

นอกจากนี้ นักศึกษาแพทย์ยังได้เข้าร่วมสังเกตการณ์ในห้องตรวจและห้องผ่าตัด เพื่อเรียนรู้แนวทางการใช้เทคโนโลยีร่วมกับกระบวนการรักษาทางคลินิก ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่มีคุณค่าในการพัฒนาความรู้และทักษะทางการแพทย์ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของเทคโนโลยีสมัยใหม่

โครงการนี้เปิดโอกาสให้นักศึกษาแพทย์จากต่างประเทศได้เรียนรู้กระบวนการรักษาและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย อีกทั้งเป็นการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และวัฒนธรรมทางการแพทย์ อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวิชาชีพในระดับสากล

 

เขียนโดย: นายปฏิวัติ ศรีสอาด นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา

 


 

来自新加坡和日本的交换学生顺利毕业于孔敬大学医学院

孔敬大学医学院重视国际学术合作,并致力于通过学生交换项目(Elective Exchange Program)促进医学学习。为了加强合作,医学院欢迎来自新加坡和日本的医学生参与交换项目,该项目于2025年2月4日至2025年2月13日之间举办。

在耳鼻喉科,参加项目的医学生包括来自新加坡管理学院(SIM GE)的Mr. Dongjin Shin,他有机会学习如何在耳鼻喉科的临床治疗中应用健康信息学与计算机技术,同时探索如何使用技术支持医学工作,以提高诊断和治疗效率。他还参观了耳鼻喉科不同专科的门诊,包括:
Head and Neck Clinic:学习如何治疗头部和颈部的肿瘤和癌症。
Otology Clinic:学习关于耳部疾病的知识,如听力丧失、中耳感染以及人工耳蜗植入手术。
Rhinology Clinic:学习治疗鼻腔和鼻窦疾病,如慢性鼻窦炎和呼吸道阻塞症。
Laryngology Clinic:学习喉部和声带的疾病。
Sleep Clinic:学习如何诊断和治疗睡眠呼吸暂停(OSA)。
Voice Clinic:学习如何治疗因错误使用声音或神经系统疾病而产生的语音问题。

在骨科,参与项目的医学生包括来自名古屋市大学的Mr. Kotaro Okada、Mr. Ryotaro Ishizawa、Mr. Ryusei Inaba、Mr. Taise Kumai和Mr. Takahiro Asai,他们有机会学习和进行临床实践,涉及骨科病人的诊断和治疗。在项目期间,医学生们获得了以下各方面的知识和技能:
• 影像学检查(X射线、CT、MRI)的阅读与分析。
• 门诊和住院病房的患者治疗。
• 骨科手术技能培训与观察,如关节镜手术、骨折固定术、关节置换术。
• 运动医学与运动损伤的康复治疗。

此外,医学生还参与了门诊和手术室的观察,学习如何将技术与临床治疗过程相结合,这对提升医学知识与技能并使其与现代技术趋势保持一致提供了宝贵的经验。
该项目为来自不同国家的医学生提供了学习现代医学治疗方法和技术的机会,同时促进了医学知识与文化的交流,促进了全球医疗职业的发展。

 

作者:Miss Sumitta Buaphaeng, Cooperative Education Student, Khon Kaen University

 

KKU Faculty of Medicine Welcomes International Medical Students for Knowledge Exchange Program

 

The Faculty of Medicine, Khon Kaen University (KKU) continues its global academic collaboration by welcoming medical students and physicians from Japan, Singapore, and Lithuania for an international exchange program at Srinagarind Hospital from February 3 to 27, 2025. This initiative aims to provide foreign medical professionals with insights into Thailand’s healthcare system, foster medical knowledge exchange, and strengthen international ties in medical education.

 

 

The participating students hail from prestigious institutions such as Nagoya City University (Japan), Singapore Institute of Management (SIM GE), and Vilnius University (Lithuania). Their visit encompasses clinical observations, hands-on medical training, and interdisciplinary learning, offering them an immersive experience in Thailand’s healthcare environment.

Bridging Medical Knowledge Across Borders

The exchange program allows international medical professionals to gain first-hand experience in different specialties, including Otorhinolaryngology (ENT), Orthopedic Surgery, and Neurosurgery.

 

  • ENT Department: Dongjin Shin (Singapore)

Mr. Dongjin Shin, from Singapore Institute of Management, specializes in Health Informatics & Computing. His visit focuses on understanding how Thailand integrates medical technology into ENT treatments and patient care.

 

  • Orthopedic Surgery Department: Nagoya City University Medical Students (Japan)

Five medical students from Nagoya City University have joined the program to gain hands-on experience in orthopedic trauma management, sports injuries, and surgical techniques:

  • Kotaro Okada aims to study Thailand’s approach to orthopedic trauma and emergency care.
  • Ryotaro Ishizawa is interested in bone structure and sports-related injuries.
  • Ryusei Inaba seeks to expand his global medical perspective after missing previous opportunities due to COVID-19 restrictions.
  • Taise Kumai is eager to learn about advanced surgical techniques in orthopedic rehabilitation.
  • Takahiro Asai focuses on knee injuries and postoperative recovery for athletes.

 

  • Neurosurgery Unit: Dr. Gabriele Pleiryte (Lithuania)

Dr. Gabriele Pleiryte, a third-year neurology resident from Vilnius University, is gaining clinical exposure in neurosurgery, with a particular focus on neurological disorders and innovative treatment methods for brain-related conditions.

 

Khon Kaen University as a Regional Medical Hub

This exchange program not only provides foreign students with an opportunity to study in Thailand but also allows Thai medical professionals to engage in cross-cultural knowledge-sharing. With a growing reputation in medical education and research, Khon Kaen University’s Faculty of Medicine continues to expand its role as a regional leader in healthcare innovation.

By fostering collaborations with institutions from Japan, Singapore, and Lithuania, KKU is paving the way for enhanced medical training, improved healthcare practices, and stronger international partnerships. This initiative underscores the university’s commitment to bridging medical knowledge across borders and preparing future healthcare professionals for a globalized medical landscape.

 

 


 

แพทยศาสตร์ มข. เปิดบ้านต้อนรับนักศึกษาแพทย์ต่างชาติ เสริมสร้างความร่วมมือทางการแพทย์ระดับโลก

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) ยังคงเดินหน้าสู่ความเป็นสากล ด้วยการเปิดโอกาสให้ นักศึกษาแพทย์และแพทย์จากต่างประเทศ เข้าร่วม โครงการแลกเปลี่ยนและศึกษาดูงาน ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ระหว่างวันที่ 3 – 27 กุมภาพันธ์ 2568 โดยผู้เข้าร่วมโครงการมาจาก ญี่ปุ่น, สิงคโปร์ และลิทัวเนีย เพื่อศึกษาแนวทางการรักษาผู้ป่วย แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และฝึกปฏิบัติงานร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์ของไทย

นักศึกษาแพทย์ที่เข้าร่วมโครงการครั้งนี้ล้วนมีความมุ่งมั่นที่จะเรียนรู้ระบบการแพทย์ไทยในหลายสาขาวิชา ตั้งแต่โสต ศอ นาสิกวิทยา ออร์โธปิดิกส์ ไปจนถึงศัลยศาสตร์ระบบประสาท ซึ่งจะช่วยให้พวกเขาได้ขยายมุมมองทางการแพทย์และพัฒนาทักษะการรักษาในบริบทที่แตกต่างไปจากประเทศของตน

 

ประสบการณ์ที่เปิดโลกของนักศึกษาแพทย์ต่างชาติ

  • โสต ศอ นาสิกวิทยา: Dongjin Shin จากสิงคโปร์

Mr. Dongjin Shin จาก Singapore Institute of Management (SIM GE) มองว่าการแลกเปลี่ยนครั้งนี้เป็นโอกาสสำคัญที่ทำให้เขาได้เข้าใจระบบสาธารณสุขไทย และศึกษาการใช้ Health Informatics & Computing ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเกี่ยวกับหู คอ จมูก โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนงานทางการแพทย์

 

  • ออร์โธปิดิกส์: นักศึกษาแพทย์จาก Nagoya City University, ญี่ปุ่น

Mr. Kotaro Okada หวังใช้โอกาสนี้ศึกษาแนวทางรักษาผู้ป่วยทางออร์โธปิดิกส์และกระดูก โดยเฉพาะการทำงานในบริบทของระบบสาธารณสุขไทย

Mr. Ryotaro Ishizawa สนใจศึกษากายวิภาคของกระดูกและการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีภาวะกระดูกหัก หรือการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา

Mr. Ryusei Inaba หวังเปิดประสบการณ์การแพทย์ในระดับนานาชาติ หลังจากที่โควิด-19 ทำให้เขาไม่มีโอกาสศึกษาต่อในต่างประเทศก่อนหน้านี้

Mr. Taise Kumai สนใจการบาดเจ็บทางออร์โธปิดิกส์และการใช้เทคนิคการรักษาสมัยใหม่ในการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุ

Mr. Takahiro Asai ต้องการเรียนรู้การรักษาอาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา โดยเฉพาะการป้องกันและฟื้นฟูผู้ป่วยหลังการผ่าตัด

 

  • ศัลยศาสตร์ระบบประสาท: Gabriele Pleiryte จากลิทัวเนีย

Dr. Gabriele Pleiryte แพทย์ประจำบ้านชั้นปีที่ 3 ด้านประสาทวิทยาจาก Vilnius University, ลิทัวเนีย ต้องการเข้าใจโครงสร้างการดูแลผู้ป่วยโรคทางสมองของไทย และศึกษากลยุทธ์ใหม่ ๆ ในการรักษาโรคทางประสาทศัลยศาสตร์ รวมถึงต้องการนำความรู้จากการแลกเปลี่ยนครั้งนี้ไปพัฒนาระบบสาธารณสุขในประเทศของตน

 

แพทยศาสตร์ มข. บนเวทีนานาชาติ

โครงการแลกเปลี่ยนครั้งนี้ไม่เพียงเปิดโอกาสให้นักศึกษาแพทย์ต่างชาติได้เรียนรู้การแพทย์ไทย แต่ยังเป็นโอกาสสำคัญสำหรับแพทย์ไทยในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และเรียนรู้แนวคิดใหม่ ๆ จากประเทศที่มีระบบการแพทย์แตกต่างกัน

คณะแพทยศาสตร์ มข. ยังคงยกระดับตนเองให้เป็น ศูนย์กลางด้านการแพทย์ของภูมิภาค โดยมุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยผ่านเครือข่ายความร่วมมือระดับสากล การร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจากญี่ปุ่น สิงคโปร์ และลิทัวเนียครั้งนี้จะเป็นอีกหนึ่งก้าวสำคัญในการพัฒนาระบบการแพทย์ไทยให้เทียบเคียงมาตรฐานโลก

 

เขียนโดยนางสาวรัชนีกร ธาตุวิสัย นักศึกษาฝึกสหกิจ

 


 

泰国孔敬大学医学院接待国际医学交流生 促进全球医学合作

【孔敬讯】泰国孔敬大学医学院(Khon Kaen University, KKU) 正在进一步拓展国际医学合作,近日迎来来自日本、新加坡和立陶宛的医学交流生和医生,参与于 2025年2月3日至27日 在诗那阁临医院(Srinagarind Hospital) 举办的国际医学交流项目。本次交流旨在帮助外国医学专业人士深入了解泰国的医疗体系,促进医学知识的互换,并加强全球医学教育的合作关系。

参加此次交流项目的学生分别来自世界知名院校,包括日本名古屋市立大学(Nagoya City University)、新加坡管理学院(SIM GE)和立陶宛维尔纽斯大学(Vilnius University)。他们将在泰国接受临床观察、医学培训和跨学科学习,深入体验泰国的医疗环境。

 

国际医学知识交流 促进多学科合作

本次交流涵盖**耳鼻喉科(ENT)、骨科(Orthopedic Surgery)及神经外科(Neurosurgery)**等多个医学领域,帮助外国医学生深入了解泰国医疗体系的临床实践。

  • 耳鼻喉科:新加坡 Dongjin Shin
    来自新加坡管理学院(SIM GE)的Dongjin Shin 专攻健康信息学与计算(Health Informatics & Computing),他此行的重点是了解泰国如何将医学技术融入耳鼻喉科的诊疗过程中,提高患者护理质量。

 

  • 骨科:日本名古屋市立大学医学交流生
    来自名古屋市立大学的五名医学交流生 将专注于骨创伤管理、运动损伤及手术技术的学习,他们分别是:
  • Kotaro Okada:希望学习泰国在骨科创伤和急诊治疗方面的应对策略。
  • Ryotaro Ishizawa:对骨骼结构及运动损伤的治疗充满兴趣。
  • Ryusei Inaba:受新冠疫情影响错失海外交流机会,这次希望拓展国际医学视野。
  • Taise Kumai:专注于骨科康复的先进外科技术。
  • Takahiro Asai:重点研究膝关节损伤及运动员术后康复治疗。

 

  • 神经外科:立陶宛 Gabriele Pleiryte
    来自立陶宛维尔纽斯大学(Vilnius University) 的Gabriele Pleiryte 博士 是一名神经内科三年级住院医生,此次交流主要关注神经外科领域,重点研究脑部疾病的最新治疗方法和国际领先的医学技术。

 

孔敬大学医学院:东南亚医学中心

此次国际医学交流项目不仅让外国医学生有机会在泰国学习,也为泰国医学界提供了与国际同行开展医学知识互换和临床经验交流的机会。随着孔敬大学医学院在医学教育和研究方面的不断发展,其作为东南亚医学中心的地位日益巩固。

 

通过与日本、新加坡和立陶宛等国际高校的合作,孔敬大学正在推动全球医学培训、医疗实践改进及国际学术合作。此次交流不仅是一次医学技术的交汇,更是孔敬大学推动全球医疗合作、培养国际化医学人才的重要举措。

 

作者 :Miss Ratchanikon Thatuwisai 实习生

 


 

Fakultas Kedokteran, Universitas Khon Kaen Menyambut Mahasiswa Kedokteran Internasional untuk Program Pertukaran Medis

Fakultas Kedokteran Universitas Khon Kaen (KKU) kembali memperkuat kerja sama internasional di bidang medis dengan menyambut mahasiswa kedokteran dan dokter dari Jepang, Singapura, dan Lituania dalam program pertukaran medis internasional yang berlangsung di Rumah Sakit Srinagarind dari 3 hingga 27 Februari 2025.

Program ini bertujuan untuk memberikan wawasan kepada tenaga medis asing tentang sistem perawatan kesehatan di Thailand, sekaligus mendorong pertukaran ilmu medis dan mempererat hubungan internasional dalam dunia pendidikan kedokteran. Peserta program berasal dari universitas-universitas terkemuka seperti Nagoya City University (Jepang), Singapore Institute of Management (SIM GE), dan Vilnius University (Lituania). Mereka akan mengikuti berbagai kegiatan termasuk observasi klinis, pelatihan medis langsung, dan pembelajaran interdisipliner yang memberi pengalaman nyata dalam lingkungan medis Thailand.

 

Meningkatkan Pengetahuan Medis Lintas Negara

Program ini memberikan kesempatan bagi para mahasiswa dan dokter asing untuk mendapatkan pengalaman langsung dalam beberapa spesialisasi, termasuk Otorhinolaringologi (THT), Bedah Ortopedi, dan Bedah Saraf.

 

  • Departemen THT: Dongjin Shin (Singapura)

Dongjin Shin dari Singapore Institute of Management (SIM GE) berfokus pada Health Informatics & Computing. Selama kunjungannya, ia akan mempelajari bagaimana Thailand mengintegrasikan teknologi medis dalam perawatan pasien di bidang THT.

  • Departemen Bedah Ortopedi: Mahasiswa Nagoya City University (Jepang)

Lima mahasiswa kedokteran dari Nagoya City University berpartisipasi dalam program ini untuk memperdalam pemahaman tentang perawatan trauma ortopedi, cedera olahraga, dan teknik bedah modern:

  • Kotaro Okada ingin mempelajari pendekatan Thailand terhadap trauma ortopedi dan perawatan darurat.
  • Ryotaro Ishizawa tertarik pada struktur tulang serta penanganan cedera akibat olahraga.
  • Ryusei Inaba berharap dapat memperluas wawasan medisnya setelah sebelumnya tidak memiliki kesempatan belajar di luar negeri akibat pandemi COVID-19.
  • Taise Kumai ingin mempelajari teknik bedah lanjutan dalam rehabilitasi ortopedi.
  • Takahiro Asai fokus pada cedera lutut dan metode pemulihan bagi atlet pasca operasi.
    • Departemen Bedah Saraf: Dr. Gabriele Pleiryte (Lituania)
      Gabriele Pleiryte, seorang residen tahun ketiga spesialisasi neurologi dari Vilnius University, akan mendapatkan pengalaman klinis dalam bidang bedah saraf, khususnya dalam diagnosis dan terapi gangguan neurologis serta inovasi terbaru dalam perawatan otak.

 

Universitas Khon Kaen sebagai Pusat Medis Regional

Program ini tidak hanya menjadi peluang bagi mahasiswa asing untuk belajar di Thailand, tetapi juga memberi manfaat bagi tenaga medis Thailand dalam berbagi wawasan dan bertukar pengalaman klinis dengan rekan-rekan dari berbagai negara.

 

Dengan reputasi yang terus berkembang di bidang pendidikan dan penelitian medis, Fakultas Kedokteran Universitas Khon Kaen semakin memperkuat posisinya sebagai pusat inovasi medis di kawasan Asia Tenggara. Melalui kemitraan dengan institusi dari Jepang, Singapura, dan Lituania, KKU berupaya mendorong pengembangan pelatihan medis, peningkatan praktik kesehatan, serta memperluas jaringan kerja sama akademik internasional.

Program ini menjadi langkah penting dalam mempererat kolaborasi medis global, mempersiapkan tenaga medis masa depan dengan pemahaman lintas budaya, serta mendorong pengembangan teknologi kesehatan yang lebih maju.

 

Ditulis oleh Miss Andi Nurul Fadillah, Student Intern (Chit Chat in KKU Workplace Program)

 

“Japanese Medical Professionals Praise Thailand’s Patient Care – A Landmark Collaboration Between MDKKU and Keio University”

 

A team of Japanese healthcare professionals from Keio University Hospital—including nurses, a pharmacist, and a physiotherapist—recently completed an immersive study visit at Srinagarind Hospital and Queen Sirikit Heart Center, Faculty of Medicine, Khon Kaen University (KKU) from February 4–6, 2025. Their goal: to gain insights into Thailand’s healthcare system, exchange medical knowledge, and explore advanced patient care techniques.

 

 

“A Transformative Experience” – Learning Beyond Borders

This visit followed a November 2024 delegation to Keio University in Tokyo led by Associate Professor Dr. Thuss Sanguansak, Associate Dean for International Relations and Corporate Communications, and Associate Professor Dr. Warachaya Phanphruk, Assistant Dean for International Relations and Corporate Communications. The meeting resulted in an expanded medical personnel exchange program, strengthening academic and professional ties between the two institutions.

During their visit, the Japanese team had the opportunity to observe and engage with Thailand’s multidisciplinary medical teams, gaining firsthand exposure to innovative patient care strategies.

 

 

Japanese Nurses Gain Insights into Thai Nursing Practices

Miss Kasumi Yanagi and Miss Erika Onuma, nurses from Keio University Hospital, engaged in various clinical observations aligned with their request. Their study visit focused on nursing workflows, patient safety protocols, and team-based care practices within multiple hospital units.

  • Kasumi Yanagi, with experience in breast surgery, obstetrics-gynecology, and neurosurgery, observed preoperative and postoperative nursing care, including patient monitoring, pain management, and coordination with the surgical team.
  • Erika Onuma, specializing in gastroenterology, respiratory medicine, and high-dependency unit (HCU) care, focused on nursing roles in outpatient care and critical care management, studying nurse-led patient assessments and interprofessional collaboration.

In addition to their planned study areas, both nurses expressed a strong interest in learning more about palliative and end-of-life care in Thailand. The nursing team at Srinagarind Hospital arranged additional visits to observe palliative care units and discuss patient-centered approaches in managing terminal illnesses.

Japanese Pharmacist Applauds Thailand’s Cancer Medication Management

Mr. Yusuke Kasai, a clinical pharmacist specializing in oncology, praised Thailand’s patient-centered approach to pharmaceutical care.

“Thai hospital pharmacists are not just dispensing medication; they play a crucial role in monitoring side effects and optimizing treatment plans. This level of integration into patient care is impressive,” he noted after engaging with KKU’s pharmacy department.

His study focused on anticancer drug management, adverse effect monitoring, and Thailand’s pharmacovigilance system, offering valuable insights that could enhance Japan’s clinical pharmacy practices.

Physiotherapy in Thailand: A Model for Post-Stroke and Cardiac Rehab

Mr. Shogo Fukui, a physiotherapist specializing in cardiovascular rehabilitation, explored advanced rehabilitation techniques at both Srinagarind Hospital and the Queen Sirikit Heart Center.

“The role of physiotherapists in Thailand extends far beyond basic recovery exercises. The personalized rehabilitation programs I observed here significantly improve patients’ quality of life,” he said.

He engaged in case studies related to stroke rehabilitation and post-cardiac surgery recovery, taking home valuable strategies for enhancing Japan’s physiotherapy protocols.

Thailand-Japan Medical Collaboration Strengthens Global Healthcare

This exchange program, part of the KKU-Keio University partnership, is designed to develop medical professionals, foster knowledge-sharing, and enhance patient care innovations across both countries.

“Collaboration between Thailand and Japan enriches both nations’ healthcare systems. Through knowledge exchange, we can develop new treatment methodologies and strengthen our medical workforce,” said Associate Professor Dr. Thuss Sanguansak.

This visit marks just the beginning of a broader collaboration. Future plans include sending Thai medical students and professionals to Keio University, ensuring a continuous exchange of expertise and best practices.

 

Written by Miss Andi Nurul Fadillah, Student Intern (Chit Chat in KKU Workplace Program)

 


 

พยาบาล-เภสัชกร-นักกายภาพญี่ปุ่น ชื่นชมการดูแลผู้ป่วยไทย” – ผลจากความร่วมมือ คณะแพทยศาสตร์ มข.-เคโอะ

ทีมบุคลากรทางการแพทย์จาก Keio University Hospital ประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วย พยาบาล เภสัชกร และนักกายภาพบำบัด เดินทางมาศึกษาดูงานที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระหว่างวันที่ 4-6 กุมภาพันธ์ 2568 เพื่อเรียนรู้ระบบสาธารณสุขไทยและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการดูแลผู้ป่วย

เป็นประสบการณ์ล้ำค่า” ทีมญี่ปุ่นเผย ได้เรียนรู้แนวทางใหม่ ๆ

การมาเยือนครั้งนี้เกิดขึ้น หลังจากที่ รองศาสตราจารย์ ดร.ธรรศ สงวนศักดิ์ รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร และ รองศาสตราจารย์ ดร.วรัชญา พันธุ์พฤกษ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ฯ เดินทางเยือน มหาวิทยาลัยเคโอะ กรุงโตเกียว เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2567 ซึ่งนำไปสู่ข้อตกลงขยายโครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการแพทย์ระหว่างสองสถาบัน

ในโอกาสนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.ธรรศ สงวนศักดิ์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.วรัชญา พันธุ์พฤกษ์ ได้เข้าร่วมรับฟังผลการศึกษาดูงานจากผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งสะท้อนถึงการพัฒนาความร่วมมือเชิงลึก และการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้จริงในระบบสาธารณสุขของทั้งสองประเทศ

พยาบาลญี่ปุ่นศึกษากระบวนการทำงานของพยาบาลไทย

Miss Kasumi Yanagi และ Miss Erika Onuma พยาบาลจาก Keio University Hospital ได้เข้าศึกษากระบวนการทำงานของพยาบาลในหลายหน่วยงาน ตามหัวข้อที่พวกเธอสนใจ ได้แก่ การดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด การจัดการความเจ็บปวด และบทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคเฉพาะทาง

Kasumi Yanagi มีประสบการณ์ด้านการพยาบาลใน แผนกศัลยกรรมเต้านม สูติ-นรีเวช และศัลยกรรมกระดูกและระบบประสาท เธอให้ความสนใจในการสร้างแผนการดูแลผู้ป่วยร่วมกับ ทีมแพทย์ พยาบาล และนักสังคมสงเคราะห์

Erika Onuma ทำงานใน แผนกผู้ป่วยนอกด้านโรคทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ รวมถึงหอผู้ป่วยวิกฤต (HCU) โดยมุ่งเน้นศึกษาระบบ การจัดการพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยแบบบูรณาการ

การศึกษาดูงานในครั้งนี้ช่วยให้พยาบาลญี่ปุ่นได้เห็นแนวทางการทำงานเป็นทีมของพยาบาลไทยที่มี การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพกับทีมแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งเป็นแนวคิดที่พวกเธอจะนำไปพัฒนาการทำงานในญี่ปุ่น

นอกจากนี้ พวกเธอแสดงความสนใจใน การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) ทีมพยาบาลของโรงพยาบาลศรีนครินทร์จึงจัดโอกาสให้ได้เข้าเยี่ยมชมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย และเรียนรู้การทำงานร่วมกันของทีมสหสาขาวิชาชีพ

เภสัชกรญี่ปุ่นยกนิ้วให้ระบบบริหารยาไทย

Mr. Yusuke Kasai เภสัชกรเฉพาะทางด้านมะเร็ง กล่าวว่า “ระบบเภสัชกรรมของไทยให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของเภสัชกรในทีมรักษาอย่างชัดเจน”

เขาได้เข้าร่วมดูงานที่ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ เพื่อศึกษาการจัดการ ยาต้านมะเร็ง และการทำงานร่วมกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ โดยระบุว่า “เภสัชกรไทยไม่ได้ทำหน้าที่จ่ายยาเพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นส่วนหนึ่งของทีมแพทย์ในการติดตามผลข้างเคียงของยาและวางแผนการรักษาให้เหมาะสมที่สุด”

นักกายภาพบำบัดญี่ปุ่นศึกษาเทคนิคฟื้นฟูสมรรถภาพที่ทันสมัย

Mr. Shogo Fukui นักกายภาพบำบัดจาก Keio University Hospital ให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือด โดยกล่าวว่า “นักกายภาพบำบัดที่นี่มีบทบาทสำคัญในการช่วยให้ผู้ป่วยกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ”

เขาได้เยี่ยมชม แผนกเวชศาสตร์ฟื้นฟูของโรงพยาบาลศรีนครินทร์และศูนย์หัวใจสิริกิติ์ เพื่อศึกษาการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจและระบบไหลเวียนโลหิต พร้อมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เกี่ยวกับ เทคนิคกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจและอัมพาต ซึ่งเป็นหัวข้อที่เขาสนใจนำไปพัฒนาต่อที่ญี่ปุ่น

ความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่น ขยายโอกาสทางการแพทย์ระดับโลก

โครงการศึกษาดูงานครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของ ความร่วมมือระหว่างคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเคโอะ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ และขยายโอกาสในการฝึกอบรมทั้งในไทยและญี่ปุ่น

รองศาสตราจารย์ ดร.ธรรศ สงวนศักดิ์ กล่าวถึงโครงการนี้ว่า “การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างบุคลากรไทยและญี่ปุ่นช่วยเพิ่มพูนทักษะและแนวคิดใหม่ ๆ ให้กับทีมแพทย์ พยาบาล และเภสัชกรของทั้งสองประเทศ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบสาธารณสุขในระยะยาว”

โครงการนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้น ของการเชื่อมโยงองค์ความรู้ระหว่างประเทศไทยและญี่ปุ่น โดยคณะแพทยศาสตร์ มข. มีแผนจะส่งนักศึกษาและบุคลากรไปฝึกอบรมที่มหาวิทยาลัยเคโอะในอนาคต

 

เขียนโดย: นางสาวกชกร อ่อนจังหรีด นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา

 


 

日本医疗专家高度评价泰国患者护理——加强 MDKKU Keio 大学合作

近日,来自Keio University Hospital的护理人员、药剂师和物理治疗师一行抵达泰国,赴Khon Kaen University(KKU) Faculty of Medicine 附属 Srinagarind Hospital 和 Queen Sirikit Heart Center进行交流访问。此次访问于2025年2月4日至6日进行,旨在深入了解泰国医疗体系,并与泰方医护团队就患者护理、药物管理及康复治疗等方面展开交流。

交流促提升,日本医疗团队高度评价泰国医疗体系

此次访问源于2024年11月,Associate Professor Dr. Thuss Sanguansak(国际关系与企业传播副院长)和 Associate Professor Dr. Warachaya Phanphruk(国际关系与企业传播助理院长)率领的代表团访问东京Keio University,双方达成深化医疗人员交流合作的协议,促进跨国医学知识共享。

日本护理专家:泰国的姑息治疗模式令人印象深刻

Miss Kasumi Yanagi 和 Miss Erika Onuma,两位来自 Keio University Hospital 的资深护理专家,对泰国的**姑息治疗(Palliative Care)和临终关怀(End-of-Life Care)**给予高度评价。

泰国的姑息治疗不仅关注患者的身体状况,同时也重视患者及其家属的心理需求。这种全人护理理念令人钦佩,我们希望能深入学习并借鉴这一模式, Miss Erika 在 ICU 观察临终护理后表示。

Kasumi Yanagi 专注于乳腺外科、妇产科、骨科和神经外科护理,在泰期间,她深入学习了跨学科患者护理计划,与医生、护士及社会工作者共同优化护理方案。

Erika Onuma 主要负责 消化系统、呼吸系统护理以及高依赖病房(HCU)管理,她对泰国综合护理管理体系表现出浓厚兴趣。

两位护理专家均表示,泰国医院在团队协作和院内沟通方面表现出色,为提升医疗效率提供了宝贵经验。

日本药剂师:泰国的抗癌药物管理值得借鉴

Mr. Yusuke Kasai,一名专注于肿瘤治疗的临床药剂师,在泰国的药剂部门交流学习后,对其以患者为中心的药物管理体系给予高度认可。

泰国的药剂师不仅负责配药,还深度参与到患者治疗过程中,包括监测副作用并优化治疗方案。这一模式值得我们学习, 他在考察 KKU 药剂管理体系后表示。

他的学习重点包括抗癌药物管理、副作用监测及药品安全,并计划将相关经验带回日本,推动本土药剂服务的优化。

日本物理治疗师:泰国康复治疗体系先进,为患者提供高质量生活

Mr. Shogo Fukui,一名专注于心血管康复治疗的物理治疗师,此次访问期间,他在Srinagarind Hospital 和 Queen Sirikit Heart Center 进行了深入学习。

泰国的物理治疗不仅限于基本康复训练,而是以患者为核心,提供个性化的康复方案,帮助患者更快、更好地恢复正常生活, 他在学习中风康复及心脏术后恢复案例后表示。

泰日医疗合作推动全球医疗发展

本次交流项目作为 KKU 与 Keio University 战略合作的一部分,旨在推动两国医疗专业人才培养、共享最新医疗技术、优化患者护理模式。

泰国与日本的医疗合作不仅为双方提供了宝贵的学习机会,也推动了全球医疗事业的发展。通过知识交流,我们可以共同探索新的治疗方法,提升医护人员的整体素质, Associate Professor Dr. Thuss Sanguansak 说道。

此次访问只是合作的第一步,未来,KKU 计划派遣更多泰国医护人员及医学生前往 Keio University 学习,进一步深化医疗交流。

 

写作:Miss Ratchanikon Thatuwisai 实习生

 


 

“Profesional Medis Jepang Puji Sistem Perawatan Pasien Thailand – Kolaborasi MDKKU dan Universitas Keio Semakin Erat”

Tim tenaga medis dari Keio University Hospital, Jepang, yang terdiri dari perawat, apoteker, dan fisioterapis, telah menyelesaikan kunjungan studi ke Rumah Sakit Srinagarind dan Queen Sirikit Heart Center, Fakultas Kedokteran, Universitas Khon Kaen (KKU), Thailand pada 4–6 Februari 2025. Kunjungan ini bertujuan untuk mempelajari sistem kesehatan Thailand, berbagi pengetahuan medis, serta mendalami teknik perawatan pasien yang inovatif.

Kolaborasi Lintas Negara: Jepang Pelajari Sistem Medis Thailand

Kunjungan ini merupakan tindak lanjut dari delegasi Universitas Khon Kaen ke Universitas Keio di Tokyo pada November 2024, yang dipimpin oleh Associate Professor Dr. Thuss Sanguansak, Dekan Bidang Hubungan Internasional dan Komunikasi Korporat, serta Associate Professor Dr. Warachaya Phanphruk, Asisten Dekan Bidang Hubungan Internasional dan Komunikasi Korporat.

Dalam pertemuan tersebut, kedua universitas sepakat untuk memperluas program pertukaran tenaga medis, guna memperkuat hubungan akademik dan profesional di bidang kedokteran.

Perawat Jepang Terpukau dengan Pendekatan Palliative Care di Thailand

Miss Kasumi Yanagi dan Miss Erika Onuma, perawat dari Keio University Hospital, mengungkapkan kekaguman mereka terhadap sistem perawatan paliatif (Palliative Care) dan perawatan akhir hayat (End-of-Life Care) di Thailand.

“Pendekatan di sini tidak hanya berfokus pada pengobatan fisik, tetapi juga mencakup dukungan emosional bagi pasien dan keluarganya. Filosofi perawatan holistik ini sangat menginspirasi, dan kami ingin mempelajarinya lebih dalam,” ujar Miss Erika, setelah mengamati perawatan pasien kritis di ICU.

Kasumi Yanagi, yang memiliki pengalaman dalam bedah payudara, obstetri-ginekologi, serta bedah saraf dan ortopedi, mempelajari perencanaan perawatan pasien berbasis tim multidisiplin, bekerja sama dengan dokter, perawat, dan pekerja sosial.

Erika Onuma, yang mengkhususkan diri di gastroenterologi, pulmonologi, dan unit perawatan intensif (HCU), meneliti sistem manajemen keperawatan terpadu di Thailand.

Mereka juga menyoroti kerja sama tim yang luar biasa di rumah sakit Thailand, yang dapat menjadi referensi bagi sistem keperawatan di Jepang.

Apoteker Jepang Apresiasi Manajemen Obat Kanker di Thailand

Mr. Yusuke Kasai, seorang apoteker klinis spesialis onkologi, memuji pendekatan berbasis pasien dalam farmasi klinis Thailand.

“Apoteker di rumah sakit Thailand tidak hanya bertugas mendistribusikan obat, tetapi juga memainkan peran aktif dalam pemantauan efek samping dan perencanaan terapi yang lebih optimal. Ini adalah model yang patut kami contoh,” ujarnya setelah mengunjungi Departemen Farmasi di KKU.

Ia secara khusus meneliti pengelolaan obat kanker, pemantauan efek samping, serta sistem farmakovigilans di Thailand, yang dapat memberikan wawasan untuk pengembangan farmasi klinis di Jepang.

Terapis Fisik Jepang Pelajari Teknik Rehabilitasi Jantung dan Stroke di Thailand

Mr. Shogo Fukui, seorang fisioterapis spesialis rehabilitasi kardiovaskular, mendalami teknik rehabilitasi di Rumah Sakit Srinagarind dan Queen Sirikit Heart Center.

“Di Thailand, peran fisioterapis tidak terbatas pada latihan pemulihan dasar, tetapi mereka juga merancang program rehabilitasi yang dipersonalisasi untuk meningkatkan kualitas hidup pasien,” ungkapnya.

Ia juga mempelajari kasus rehabilitasi pasca-stroke dan pemulihan pasca-bedah jantung, dengan harapan dapat mengadaptasi strategi yang efektif ini ke dalam praktik fisioterapi di Jepang.

Kolaborasi Medis Thailand-Jepang untuk Masa Depan Kesehatan Global

Program pertukaran ini merupakan bagian dari kemitraan antara KKU dan Universitas Keio, yang bertujuan untuk mengembangkan tenaga medis, berbagi teknologi terbaru, serta meningkatkan inovasi dalam perawatan pasien.

“Kolaborasi antara Thailand dan Jepang tidak hanya menciptakan peluang pembelajaran yang berharga, tetapi juga mendorong kemajuan global dalam dunia medis. Melalui pertukaran pengetahuan, kita dapat mengeksplorasi metode pengobatan baru serta meningkatkan kualitas layanan kesehatan,” ujar Associate Professor Dr. Thuss Sanguansak.

Kunjungan ini baru merupakan awal dari kerja sama yang lebih luas. KKU berencana mengirim mahasiswa kedokteran dan tenaga medis Thailand ke Universitas Keio, mempererat hubungan akademik antara kedua negara.

 

Ditulis oleh Miss Andi Nurul Fadillah, Student Intern (Chit Chat in KKU Workplace Program)

 

Japanese Oncology Pharmacist Visits Srinagarind Hospital for Knowledge Exchange

 

Mr. Yusuke Kasai, a distinguished oncology pharmacist from Keio University Hospital in Japan, has arrived at Srinagarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University, for a study visit from February 4 to 6, 2025. His visit marks a significant step in international medical collaboration, focusing on cancer treatment, pharmaceutical management, and patient care.

This visit follows discussions between Khon Kaen University’s Faculty of Medicine and Keio University, aimed at strengthening medical education and research partnerships. It also underscores the growing cooperation between Thailand and Japan in advancing healthcare practices and optimizing cancer treatment strategies.

 

 

Upon his arrival, Ms. Ratchadaporn Sunthornphas, Head of the Pharmacy Department at Srinagarind Hospital, formally welcomed Mr. Kasai. She introduced him to the hospital’s pharmaceutical management system, particularly in the oncology ward, where pharmacists play a crucial role in chemotherapy preparation, patient counseling, and adverse drug reaction monitoring.

Mr. Kasai, who has over 12 years of experience in oncology pharmacy, also engaged in discussions with Thai pharmacists and healthcare teams, exchanging insights on cancer chemotherapy regimen management and multidisciplinary patient care approaches. He visited the cancer inpatient ward, where he observed how Thai pharmacists collaborate with oncologists and nurses in monitoring chemotherapy safety and effectiveness.

With expertise in cancer pharmacotherapy and as a Certified Oncology Pharmacist in Japan, Mr. Kasai’s visit is expected to strengthen academic ties and facilitate long-term cooperation between Thai and Japanese healthcare institutions. His insights into oncology drug management, patient counseling, and international best practices could provide valuable contributions to Thailand’s ongoing efforts to enhance cancer treatment protocols and pharmaceutical services.

This exchange program reflects a broader commitment to medical innovation and international knowledge-sharing, positioning Srinagarind Hospital as a hub for global collaboration in pharmaceutical and healthcare advancements.

 

Written by Mr. Patiwat Srisaad, Cooperative Education Student

 


 

เภสัชกรผู้เชี่ยวชาญจากญี่ปุ่นศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์

Mr. Yusuke Kasai เภสัชกรผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งจากโรงพยาบาลเคโอะ ประเทศญี่ปุ่น เดินทางมาศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระหว่างวันที่ 4 – 6 กุมภาพันธ์ 2568 เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านเภสัชกรรมทางการแพทย์และการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทย

การเดินทางครั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องจากการหารือความร่วมมือทางการแพทย์ระหว่างคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเคโอะ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมีเป้าหมายในการยกระดับมาตรฐานการรักษาและการบริหารจัดการยาในโรงพยาบาล โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ต้องการการดูแลอย่างละเอียดอ่อน

เภสัชกรหญิงรัชฎาพร สุนทรภาส หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ให้การต้อนรับ Mr. Yusuke Kasai และนำเสนอภาพรวมของระบบบริหารจัดการยาในโรงพยาบาล รวมถึงแนวทางปฏิบัติของเภสัชกรไทยในการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง พร้อมแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาต้านมะเร็ง การติดตามผลข้างเคียงในผู้ป่วย และการทำงานร่วมกันในทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยเฉพาะการบริหารจัดการยาในหอผู้ป่วยโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการรักษา

นาย Kasai ยังได้เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมชมหอผู้ป่วยโรคมะเร็ง ศึกษาระบบการจัดการยาเคมีบำบัดของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ซึ่งมีแนวทางที่เป็นระบบและมุ่งเน้นการใช้ยาอย่างปลอดภัย ด้วยประสบการณ์กว่า 12 ปี ในฐานะเภสัชกรผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็ง และตำแหน่งรองผู้อำนวยการฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลเคโอะ การศึกษาดูงานครั้งนี้เป็นโอกาสสำคัญที่ไม่เพียงแต่ช่วยให้เข้าใจระบบสาธารณสุขของไทย แต่ยังเป็นก้าวสำคัญในการเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างเภสัชกรไทย-ญี่ปุ่น และยกระดับมาตรฐานการรักษาผู้ป่วยมะเร็งให้ก้าวไกลสู่ระดับสากล

 

เขียนโดย: นายปฏิวัติ ศรีสอาด นักศึกษาฝึกสหกิจศึกษา

 


 

日本肿瘤药剂师赴泰国诗那阁临医院交流学习

【孔敬讯】来自日本Keio University Hospital的肿瘤药剂师Yusuke Kasai 近日抵达泰国Khon Kaen University医学院附属Srinagarind Hospital,展开为期三天(2025年2月4日至6日)的学术交流访问。此次访问旨在加强国际医药合作,探讨抗癌药物管理与患者护理模式,推动泰日医疗领域的深入合作。

此次交流源自Khon Kaen University医学院与Keio University之间的医疗合作磋商,重点关注药学管理、化疗方案制定及药物安全监测,为泰日医疗界提供相互借鉴和学习的机会。

Srinagarind Hospital药剂部主任Ratchadaporn Sunthornphas 代表医院接待Yusuke Kasai,并介绍医院在肿瘤药物管理、化疗药品调配及药物副作用监测方面的经验。同时,Yusuke Kasai与泰国药剂师及医疗团队进行了深入交流,参观肿瘤病房,了解泰国药剂师在肿瘤治疗团队中的角色。

Yusuke Kasai拥有12年肿瘤药学经验,目前担任Keio University Hospital药剂部副主任,并持有**日本医院药剂师协会(JSHHP)**认证的肿瘤药剂师资格。他在日本负责癌症化疗方案管理、患者用药指导及不良反应监测,此次访问将为泰国医疗界提供新的思路和经验。

此次学术交流不仅推动泰日医药学界的深入合作,也为泰国抗癌治疗及药学管理的国际化发展提供有力支持。Srinagarind Hospital致力于加强国际医学交流,提升药学服务水平,并希望借助此类合作推动东南亚地区肿瘤治疗技术的发展。

 

作者:Miss Sumitta Buaphaeng, Cooperative Education Student

 


 

Apoteker Onkologi Jepang Berkunjung ke Rumah Sakit Srinagarind untuk Pertukaran Pengetahuan

Yusuke Kasai, seorang apoteker onkologi terkemuka dari Rumah Sakit Universitas Keio, Jepang, melakukan kunjungan studi ke Rumah Sakit Srinagarind, Fakultas Kedokteran, Universitas Khon Kaen, dari 4 hingga 6 Februari 2025. Kunjungan ini bertujuan untuk memperkuat kerja sama internasional dalam perawatan farmasi, khususnya dalam pengelolaan obat kanker dan perawatan pasien.

Kunjungan ini merupakan hasil dari diskusi antara Fakultas Kedokteran Universitas Khon Kaen dan Universitas Keio, yang bertujuan untuk meningkatkan standar pengobatan dan manajemen obat di rumah sakit, terutama dalam perawatan pasien kanker yang membutuhkan perhatian khusus.

Setibanya di sana, Ratchadaporn Sunthornphas, Kepala Departemen Farmasi di Rumah Sakit Srinagarind, menyambut Yusuke Kasai dan memperkenalkan sistem manajemen farmasi rumah sakit, termasuk peran apoteker dalam tim perawatan kanker. Kasai juga berpartisipasi dalam diskusi dengan apoteker dan tim medis Thailand, berbagi pengetahuan tentang pengelolaan rejimen kemoterapi dan pemantauan efek samping obat.

Dengan pengalaman lebih dari 12 tahun sebagai apoteker onkologi dan menjabat sebagai Wakil Direktur Departemen Farmasi di Rumah Sakit Universitas Keio, Kasai diharapkan dapat memberikan wawasan berharga bagi komunitas medis Thailand. Kunjungan ini tidak hanya memperkuat hubungan akademis antara Thailand dan Jepang tetapi juga berkontribusi pada peningkatan standar perawatan pasien kanker di tingkat internasional.

Pertukaran pengetahuan antara profesional medis internasional seperti ini diharapkan dapat meningkatkan kerja sama medis dan membawa standar perawatan pasien di Thailand menuju tingkat global.

 

Ditulis oleh Miss Andi Nurul Fadillah, Student Intern (Chit Chat in KKU Workplace Program)

 

Khon Kaen University Welcomes Lao Resident Doctor for Advanced Emergency Medicine Training

 

The Faculty of Medicine, Khon Kaen University (KKU) recently hosted Dr. Mr. Theenaphark Phanthavong, a third-year resident doctor from the University of Health Sciences, Lao PDR, for an elective program in Emergency Medicine. Running from February 1 to February 28, 2025, the program took place at Srinagarind Hospital’s Department of Emergency Medicine, offering hands-on clinical training and knowledge exchange.

 

This initiative is part of the Thailand-Lao PDR medical collaboration, aimed at equipping Lao doctors with advanced emergency care skills while elevating healthcare standards in ASEAN.

 

 

Bridging Knowledge Through Practical Emergency Medicine Training

During his time at KKU, Dr. Phanthavong engaged in intensive learning experiences, gaining firsthand exposure to Thailand’s emergency medical protocols and technology. The training covered:

  • Critical Emergency Patient Management – Training in assessment and treatment protocols based on international best practices.
  • Advanced Life-Saving Techniques & Medical Equipment – Hands-on experience with ventilators, ultrasound diagnostics, and defibrillators.
  • Interdisciplinary Teamwork – Working alongside emergency physicians, nurses, and paramedics to develop a holistic approach to patient care.
  • International Emergency Medicine Workshops – Participating in cross-border knowledge exchange on best practices in trauma and emergency care.

 

Strengthening Emergency Medical Collaboration Between Thailand & Lao PDR

Beyond clinical training, this program serves as a significant step toward deeper collaboration in emergency medicine between Thailand and Lao PDR. Future initiatives under discussion include:

  • Joint training programs between KKU and Lao medical institutions.
  • Physician and medical personnel exchange programs to foster skill enhancement.
  • Collaborative research projects focusing on emergency medicine and trauma care across ASEAN.

 

Reflections from the Visiting Doctor

Expressing his gratitude, Dr. Theenaphark Phanthavong shared his insights:
“It is an honor to participate in this program at Srinagarind Hospital. The exposure to international emergency care protocols and working alongside Thai medical professionals has been invaluable. I look forward to applying these lessons to enhance patient care in Lao PDR.”

 

Advancing Emergency Medicine Across ASEAN

This program reflects KKU’s commitment to being a regional leader in medical education and emergency healthcare development. By fostering international partnerships and knowledge-sharing, Khon Kaen University is shaping the future of emergency medicine across Southeast Asia.

 


 

คณะแพทยศาสตร์ มข. ต้อนรับแพทย์ประจำบ้านจาก สปป. ลาว ศึกษาดูงานด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) ต้อนรับ Dr. Mr. Theenaphark Phanthavong แพทย์ประจำบ้านชั้นปีที่ 3 จากมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ สปป. ลาว เพื่อเข้าร่วมโครงการ ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน (Elective Program in Emergency Medicine) ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 28 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีนครินทร์

โครงการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของ ความร่วมมือทางการแพทย์ไทย-ลาว ซึ่งมุ่งเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ให้แก่แพทย์จากประเทศเพื่อนบ้าน พร้อมยกระดับการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินในภูมิภาค อาเซียน ให้มีมาตรฐานสูงขึ้น

 

เสริมสร้างทักษะด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินผ่านการฝึกปฏิบัติจริง

แพทย์จาก สปป. ลาว ได้เข้าร่วมเรียนรู้และฝึกปฏิบัติใน ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ซึ่งเป็นศูนย์รับส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินระดับตติยภูมิที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีกิจกรรมหลัก ได้แก่

  • การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินในภาวะวิกฤติ – ฝึกประเมินและรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินตามแนวทางสากล
  • เทคนิคกู้ชีพและการใช้เครื่องมือแพทย์ฉุกเฉิน – ฝึกใช้เครื่องช่วยหายใจ, อัลตราซาวด์ และเครื่องกระตุ้นหัวใจ
  • การทำงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพ – เรียนรู้การดูแลผู้ป่วยร่วมกับแพทย์ฉุกเฉิน, พยาบาล และเจ้าหน้าที่กู้ชีพ
  • ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินระดับนานาชาติ – แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และแนวทางการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน

 

ขยายเครือข่ายความร่วมมือด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ไทย-ลาว

การศึกษาดูงานครั้งนี้ ไม่เพียงแต่ช่วยเสริมสร้างทักษะเวชศาสตร์ฉุกเฉินแก่แพทย์จาก สปป. ลาว แต่ยังเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนา เครือข่ายความร่วมมือทางการแพทย์ฉุกเฉินระหว่างไทยและลาว โดยมีแนวทางขยายความร่วมมือในอนาคต เช่น

  • การพัฒนาโปรแกรมอบรมร่วมกันระหว่างคณะแพทยศาสตร์ของทั้งสองประเทศ
  • การแลกเปลี่ยนแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์
  • การร่วมมือด้านงานวิจัยทางการแพทย์ฉุกเฉินในระดับอาเซียน

 

เสียงจากแพทย์ผู้เข้าร่วมโครงการ

Dr. Theenaphark Phanthavong กล่าวถึงประสบการณ์ในครั้งนี้ว่า ผมรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้เข้าร่วมโครงการศึกษาดูงานด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ การเรียนรู้แนวทางปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานระดับสากล และการทำงานร่วมกับทีมแพทย์ไทย จะช่วยพัฒนาทักษะของผมและนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยใน สปป. ลาว ได้อย่างแน่นอน”

 

ก้าวสู่อนาคตของเวชศาสตร์ฉุกเฉินในอาเซียน

การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินครั้งนี้ เป็นอีกหนึ่งความสำเร็จของ คณะแพทยศาสตร์ มข. ในการเป็น ศูนย์กลางทางการแพทย์ของภูมิภาค โดยหวังว่าความร่วมมือครั้งนี้จะช่วยยกระดับมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินและสร้างเครือข่ายทางการแพทย์ที่เข้มแข็งยิ่งขึ้นในอนาคต